สัปดาห์ 12 บทบาทของผู้ออกแบบ
1.บทบาทของผู้ออกแบบ
ผู้ออกแบบมีหน้าที่หลายอย่างที่จะเติมเต็มความสมบูรณ์ในระหว่างขั้นตอนการตัดสินใจในระยะนี้ผู้ออกแบบมีหน้าที่เป็นผู้ตัดสินใจเลือกวิธีการ/สื่อเช่นเดียวกับตำรวจ
ที่มองเห็นว่าคำแนะนำในการออกแบบการเรียนการสอนนำไปใช้ได้หรือเป็นเหมือนผู้จัดการผู้ซึ่งริเริ่ม
และประเมินผลผลิตในบทนี้จะเกี่ยวกับบทบาทของผู้ออกแบบที่มองเห็น
การเลือกวิธีการ/สื่อที่มีประโยชน์ เราจะเลือกสืออย่างไรจะรับวัสดุอุปกรณ์ทางการค้าอย่างไรและจะริเริ่มและเฝ้าระวังกระบวนการผลิตอย่างไร
ผู้ออกแบบต้องจำกัดบทบาทในการทำหน้าที่ ต้องสามารถปฏิบัติให้แล้วเสร็จและมีประสิทธิภาพ ต้องรับรู้การกระทำหน้าที่เป็นผู้ผลิตสื่อ ผู้ถ่ายภาพ หรือผู้วางโปรแกรมด้วยเป็นการท้าทายในการที่จะพยายามทำให้เข้าใจได้ โดยลำพังตนเองแล้วไม่สามารถที่จะได้ทั้งหมดหรืออาจต้องการคำแนะนำเพิ่มเติมจากผู้ร่วมงานในทีมมากกว่าที่จะทำคนเดียวความรับผิดชอบที่จำเป็น คือการตัดสินใจเลือกวิธีการสื่อหรือในขณะที่สมาชิกของทีมหรือผู้นำทีมริเริ่มหรือแนะนำกระบวนการผลิตผู้ออกแบบจะทำสิ่งนี้ได้ดีถ้ารู้จักทำหน้าที่ในลักษณะของผู้วิจัยผู้เขียนสคริปผู้ถ่ายภาพและผู้เรียบเรียงสิ่งเหล่านี้ไม่ได้หมายความว่าไม่เคยผลิตหรือไม่เคยช่วยเรียบเรียงแต่หมายความว่ารับรู้หน้าที่ในการให้คำแนะนำและจำกัดทักษะตัวอย่างเช่นมีการพัฒนาทักษะกระบวนการกลุ่มมากขึ้นและใช้ประโยชน์ได้มากขึ้นกว่าทักษะด้านการถ่ายภาพ
ผู้ออกแบบต้องจำกัดบทบาทในการทำหน้าที่ ต้องสามารถปฏิบัติให้แล้วเสร็จและมีประสิทธิภาพ ต้องรับรู้การกระทำหน้าที่เป็นผู้ผลิตสื่อ ผู้ถ่ายภาพ หรือผู้วางโปรแกรมด้วยเป็นการท้าทายในการที่จะพยายามทำให้เข้าใจได้ โดยลำพังตนเองแล้วไม่สามารถที่จะได้ทั้งหมดหรืออาจต้องการคำแนะนำเพิ่มเติมจากผู้ร่วมงานในทีมมากกว่าที่จะทำคนเดียวความรับผิดชอบที่จำเป็น คือการตัดสินใจเลือกวิธีการสื่อหรือในขณะที่สมาชิกของทีมหรือผู้นำทีมริเริ่มหรือแนะนำกระบวนการผลิตผู้ออกแบบจะทำสิ่งนี้ได้ดีถ้ารู้จักทำหน้าที่ในลักษณะของผู้วิจัยผู้เขียนสคริปผู้ถ่ายภาพและผู้เรียบเรียงสิ่งเหล่านี้ไม่ได้หมายความว่าไม่เคยผลิตหรือไม่เคยช่วยเรียบเรียงแต่หมายความว่ารับรู้หน้าที่ในการให้คำแนะนำและจำกัดทักษะตัวอย่างเช่นมีการพัฒนาทักษะกระบวนการกลุ่มมากขึ้นและใช้ประโยชน์ได้มากขึ้นกว่าทักษะด้านการถ่ายภาพ
2.ประเภทของสื่อ
ผู้ออกแบบสามารถที่จะเลือกชนิดของสื่อที่มีอิทธิพลอย่างลึกซึ้งและมีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของการเรียนรู้ที่คาดว่าจะเกิดได้
ถ้าผู้ออกแบบรับรู้ชนิดของสื่อที่มีอยู่ รวมทั้งข้อดีและข้อเสียด้วย ดังนั้น
ผู้ออกแบบก็จะเป็นผู้ที่อยู่ในฐานะที่เป็นผู้รู้จักเลือกชนิดของสื่อได้อย่างเหมาะสม
เราสามารถจำแนกสื่อได้ 4 ประเภท คือ สื่อทางหู(audio)
ทางตา (visual) ทางหูและทางตารวมกัน(audio
– visual) และสัมผัส(tactile)
ผู้ออกแบบสามารถเลือกสื่อที่เหมาะสมที่สุดจากประเภทของสื่อต่างๆ สำหรับภาระงานการเรียนการสอนที่มีความเฉพาะเจาะจงสื่อต่างๆทั้ง 4 ประเภท และตัวอย่างที่เกี่ยวข้องมีดังต่อไปนี้
ผู้ออกแบบสามารถเลือกสื่อที่เหมาะสมที่สุดจากประเภทของสื่อต่างๆ สำหรับภาระงานการเรียนการสอนที่มีความเฉพาะเจาะจงสื่อต่างๆทั้ง 4 ประเภท และตัวอย่างที่เกี่ยวข้องมีดังต่อไปนี้
1. สื่อทางหู
ได้แก่
เสียงของผู้ฝึก ห้องปฏิบัติการทางเสียง การเตรียมเทปสำหรับผู้ฝึกเทป แผ่นเสียง
วิทยุกระจายเสียง
2. สื่อทางตา
ได้แก่
กระดานชอล์ก กระดานแม่เหล็ก กราฟ คอมพิวเตอร์ วัตถุต่างๆที่เป็นของจริง รูปภาพ
แผนภูมิ กราฟภาพถ่าย หุ่นจำลอ งสิ่งที่ครูแจกให้ หนังสือฟิล์ม สไลด์ แผ่นใส่
3. สื่อทางหูและทางตา
ได้แก่ เทปวิดีโอ
ทีวีวงจรปิด โปรแกรมโสตทัศนวัสดุ สไลด์ เทป ภาพยนตร์เสียงในฟิล์ม ทีวีทั่วไป
เทคโนโลยีอื่นๆเช่น ดิจิตอล วิดีโออินเตอร์แอคทิฟเทคโนโลยี (digital video
interactive technology)
4.สื่อทางสัมผัส
ได้แก่วั
ตถุของจริง แบบจำลองในการทำงาน เช่น ผู้แสดงสถานการณ์จำลอง
สื่อการสอนมีหลายประเภท และมีการจำแนกประเภทโดยใช้เกณฑ์ที่แตกต่างกัน สิริพัชร์
เจษฎาวิโรจน์ (2550: 71-72) จำแนกประเภทของสื่อได้เป็น
6 ประเภทใหญ่ๆ ดังนี้
1. สื่อสิ่งพิมพ์
มีทั้งพิมพ์ที่จัดทำขึ้นเพื่อสนองการเรียนรู้ตามหลักสูตรโดยตรง เช่น หนังสือเรียน คู่มือครู แผนการเรียนรู้ หนังสืออ้างอิง หนังสืออ่านเพิ่มเติม แบบฝึกกิจกรรม ใบงาน ใบความรู้ ฯลฯ และสิ่งพิมพ์ทั่วไปที่สามารถนำมาใช้ในกระบวนการเรียนรู้ เช่น วารสาร นิตยสาร จุลสาร หนังสือพิมพ์ จดหมายข่าว โปสเตอร์ แผ่นพับ แผ่นภาพ เป็นต้น
2. สื่อบุคคล
หมายถึง ตัวบุคคลที่ทำหน้าที่ถ่ายทอดสาระความรู้ แนวคิด และวิธีปฏิบัติตนไปสู่บุคคลอื่น นับเป็นสื่อการเรียนรู้ที่มีบทบาทสำคัญ โดยเฉพาะในด้านการโน้มน้าวจิตใจของนักเรียน สื่อบุคคลอาจเป็นบุคลากรที่อยู่ในสถานศึกษา เช่น ผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา คนทำอาหาร หรือตัวนักเรียนเอง หรืออาจเป็นบุคลากรภายนอกที่มีความเชี่ยวชาญในสาขาต่างๆ
3. สื่อวัสดุ
เป็นสื่อที่เก็บสาระความรู้อยู่ในตัวเอง จำแนกออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
3.1 วัสดุประเภทที่สามารถถ่ายทอดความรู้อยู่ได้ด้วยตัวเอง โดยไม่จำเป็นต้องอาศัยอุปกรณ์ช่วย เช่น รูปภาพ หุ่นจำลอง เป็นต้น
3.2 วัสดุประเภทที่ไม่สามารถถ่ายทอดความรู้ได้โดยตนเองจำเป็นต้องอาศัยอุปกรณ์อื่นช่วย เช่น ฟิล์มภาพยนตร์ เทปบันทึกเสียง ซีดีรอม แผ่นดิสก์ เป็นต้น
4. สื่ออุปกรณ์
หมายถึงสิ่งที่เป็นตัวกลางหรือตัวผ่าน ทำให้ข้อมูลหรือความรู้ที่บันทึกในวัสดุสามารถถ่ายทอดอกมาให้เห็นหรือได้ยิน เช่น เครื่องฉายแผ่นโปร่งใส เครื่องฉายสไลด์ เครื่องฉายภาพยนตร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องบันทึกเสียง เป็นต้น
5. สื่อบริบท
เป็นสื่อที่ส่งเสริมหรือสนับสนุนการเรียนการสอน ได้แก่ สภาพแวดล้อม และสถานการณ์ต่าง ๆ เช่น ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ แหล่งวิทยาการหรือแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ เช่น ห้องสมุด หรือเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติในรูปของสิ่งมีชีวิต เช่น พืชผัก ผลไม้ สัตว์ชนิดต่างๆ หรืออยู่ในรูปของปรากฏการณ์หรือเหตุการณ์ที่มีอยู่หรือเกิดขึ้นรอบตัว ตลอดจนข่าวสารด้านต่างๆ เป็นต้น
6. สื่อกิจกรรม
เป็นกิจกรรมหรือกระบวนการที่จัดขึ้นเพื่อเสริมสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับนักเรียน ได้แก่ การแสดงละคร บทบาทสมมติ การสาธิต สถานการณ์จำลอง การจัดนิทรรศการ การไปทัศนศึกษานอกสถานที่ การทำโครงงาน
1. สื่อสิ่งพิมพ์
มีทั้งพิมพ์ที่จัดทำขึ้นเพื่อสนองการเรียนรู้ตามหลักสูตรโดยตรง เช่น หนังสือเรียน คู่มือครู แผนการเรียนรู้ หนังสืออ้างอิง หนังสืออ่านเพิ่มเติม แบบฝึกกิจกรรม ใบงาน ใบความรู้ ฯลฯ และสิ่งพิมพ์ทั่วไปที่สามารถนำมาใช้ในกระบวนการเรียนรู้ เช่น วารสาร นิตยสาร จุลสาร หนังสือพิมพ์ จดหมายข่าว โปสเตอร์ แผ่นพับ แผ่นภาพ เป็นต้น
2. สื่อบุคคล
หมายถึง ตัวบุคคลที่ทำหน้าที่ถ่ายทอดสาระความรู้ แนวคิด และวิธีปฏิบัติตนไปสู่บุคคลอื่น นับเป็นสื่อการเรียนรู้ที่มีบทบาทสำคัญ โดยเฉพาะในด้านการโน้มน้าวจิตใจของนักเรียน สื่อบุคคลอาจเป็นบุคลากรที่อยู่ในสถานศึกษา เช่น ผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา คนทำอาหาร หรือตัวนักเรียนเอง หรืออาจเป็นบุคลากรภายนอกที่มีความเชี่ยวชาญในสาขาต่างๆ
3. สื่อวัสดุ
เป็นสื่อที่เก็บสาระความรู้อยู่ในตัวเอง จำแนกออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
3.1 วัสดุประเภทที่สามารถถ่ายทอดความรู้อยู่ได้ด้วยตัวเอง โดยไม่จำเป็นต้องอาศัยอุปกรณ์ช่วย เช่น รูปภาพ หุ่นจำลอง เป็นต้น
3.2 วัสดุประเภทที่ไม่สามารถถ่ายทอดความรู้ได้โดยตนเองจำเป็นต้องอาศัยอุปกรณ์อื่นช่วย เช่น ฟิล์มภาพยนตร์ เทปบันทึกเสียง ซีดีรอม แผ่นดิสก์ เป็นต้น
4. สื่ออุปกรณ์
หมายถึงสิ่งที่เป็นตัวกลางหรือตัวผ่าน ทำให้ข้อมูลหรือความรู้ที่บันทึกในวัสดุสามารถถ่ายทอดอกมาให้เห็นหรือได้ยิน เช่น เครื่องฉายแผ่นโปร่งใส เครื่องฉายสไลด์ เครื่องฉายภาพยนตร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องบันทึกเสียง เป็นต้น
5. สื่อบริบท
เป็นสื่อที่ส่งเสริมหรือสนับสนุนการเรียนการสอน ได้แก่ สภาพแวดล้อม และสถานการณ์ต่าง ๆ เช่น ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ แหล่งวิทยาการหรือแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ เช่น ห้องสมุด หรือเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติในรูปของสิ่งมีชีวิต เช่น พืชผัก ผลไม้ สัตว์ชนิดต่างๆ หรืออยู่ในรูปของปรากฏการณ์หรือเหตุการณ์ที่มีอยู่หรือเกิดขึ้นรอบตัว ตลอดจนข่าวสารด้านต่างๆ เป็นต้น
6. สื่อกิจกรรม
เป็นกิจกรรมหรือกระบวนการที่จัดขึ้นเพื่อเสริมสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับนักเรียน ได้แก่ การแสดงละคร บทบาทสมมติ การสาธิต สถานการณ์จำลอง การจัดนิทรรศการ การไปทัศนศึกษานอกสถานที่ การทำโครงงาน
3.การตัดสินใจเกี่ยวกับสื่อ
สื่อเป็นวิธีการซึ่งมีการนำเสนอสาระสนเทศและแลกเปลี่ยนประสบการณ์
ในขณะที่สื่อเป็นคำที่ใช้อ้างถึงแบบของการเรียนการสอน(mode of delivery)จึงเป็นความจำเป็นที่ต้องมีวัสดุอุปกรณ์ที่จะส่งผ่านแบบการเรียนการสอนนั้นในทางตัดตัดแล้วเป็นความจำเป็นทั้งส่วนที่เป็นอุปกรณ์(hardware)และส่วนที่เป็นวัสดุ(software)สำหรับการเรียนรู้ที่อาศัยคอมพิวเตอร์เป็นฐานเช่นเดียวกันกับสื่อโทรทัศน์ที่ต้องอาศัยโปรแกรมพื้นฐาน
การตัดสินใจเกี่ยวกับสื่อสามารถทำได้ก่อน ทำตามหลัง หรือทำไปพร้อมๆกับการตกลงใจเกี่ยวกับวิธีการโดยทั่วๆไปแล้ว จะทำตามหลังหรือทำไปพร้อมๆกันการบรรยายอาจจะต้องการองค์ประกอบของสื่อหรืออาจจะอยู่ในรูปแบบของโปรแกรมโทรทัศน์ ในสมัยก่อนวัสดุอุปกรณ์ส่วนใหญ่จะเป็นสื่อประเภทสิ่งพิมพ์
การตัดสินใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีใหม่
เทคโนโลยีใหม่ประกอบด้วยการเรียนการสอนที่อาศัยคอมพิวเตอร์เป็นพื้นฐาน(computer-based instruction) และการเรียนรู้ทางไกลที่อาศัยเทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคมเป็นพื้นฐาน(telecommunication-based learning technologies) การเรียนรู้ทางไกลเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนอยู่ในสถานที่หนึ่งเทคโนโลยีใหม่มีให้เลือกหลากหลายรูปแบบ
การพิจารณาเลือกสื่อ
มีหลักการทั่วไปจำนวนมาก และข้อพิจารณาอื่นๆในการเลือกสื่อที่เหมาะสมสำหรับการเรียนการสอน คือ กฎในการเลือกสื่อและปัจจัยอื่นๆ ที่มีอิทธิพลต่อการเลือกสื่อ
กฎในการเลือกสื่อ
การตัดสินใจเกี่ยวกับสื่อสามารถทำได้ก่อน ทำตามหลัง หรือทำไปพร้อมๆกับการตกลงใจเกี่ยวกับวิธีการโดยทั่วๆไปแล้ว จะทำตามหลังหรือทำไปพร้อมๆกันการบรรยายอาจจะต้องการองค์ประกอบของสื่อหรืออาจจะอยู่ในรูปแบบของโปรแกรมโทรทัศน์ ในสมัยก่อนวัสดุอุปกรณ์ส่วนใหญ่จะเป็นสื่อประเภทสิ่งพิมพ์
การตัดสินใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีใหม่
เทคโนโลยีใหม่ประกอบด้วยการเรียนการสอนที่อาศัยคอมพิวเตอร์เป็นพื้นฐาน(computer-based instruction) และการเรียนรู้ทางไกลที่อาศัยเทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคมเป็นพื้นฐาน(telecommunication-based learning technologies) การเรียนรู้ทางไกลเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนอยู่ในสถานที่หนึ่งเทคโนโลยีใหม่มีให้เลือกหลากหลายรูปแบบ
การพิจารณาเลือกสื่อ
มีหลักการทั่วไปจำนวนมาก และข้อพิจารณาอื่นๆในการเลือกสื่อที่เหมาะสมสำหรับการเรียนการสอน คือ กฎในการเลือกสื่อและปัจจัยอื่นๆ ที่มีอิทธิพลต่อการเลือกสื่อ
กฎในการเลือกสื่อ
กฎที่1 การเรียนการสอนโดยทั่วไปแล้วต้องการสื่อสองทาง(two
way medium)นักเรียนจะเรียนได้ดีที่สุดเมื่อมีปฏิสัมพันธ์กับวัตถุ/สื่อการเรียนการสอน
ครู สมุดทำงาน หรือ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
กฎที่2 สื่อทางเดียว(one-way medium) ควรจะได้รับการสนับสนุน โดยสื่อที่ให้ข้อมูลป้อนกลับ ตัวอย่างคือ ภาพยนตร์ หรือวีดีทัศน์ จะให้ประสิทธิผลมากกว่าเมื่อมีคู่มือการใช้ควบคู่ไปด้วยหรือมีแบบฝึกประติบัตรควบคู่ไปด้วย หรือมีครูซึ่งสามารถที่จะถามคำถามและตอบคำถามได้
กฎที่3 การเรียนรู้ของแต่ละบุคคล ต้องการสื่อที่มีความยืดหยุ่น ตัวอย่างคือผู้เรียนที่เช้า อาจจะต้องการสือเรียนที่แตกแขนงออกไปเป็นพิเศษ เช่นการฝึกเสริม(remedial exercises) ตัวอย่างเสริมเป็นพิเศษ สื่อภาพยนตร์ ควรจะส่งเสริมโดยการเยียวยาแก้ไขหรือมีกิจกรรมที่เหมาะสมกับความต้องการของแต่ละบุคคล โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสามารถที่จะสนองตอบได้อย่างดีเลิศในความยืดหยุ่นที่มีต่อปัจจัยบุคคล
กฎที่5 พฤติกรรมที่คาดหวังหลังจากการเรียนการสอน ควรจะให้มีการฝึกปฏิบัติในระหว่างที่มีการเรียนการสอน การได้ยินหรือการได้เห็นทักษะที่แสดงออกมาไม่เป็นการเพียงพอ ตัวอย่างผู้ปฏิบัติจำเป็นต้องการทำการตัดไหมตามที่เห็นในวิดิทัศน์ไม่ว่าจะเป็นการตัดไม้เทียมเทียมหรือตัดใหม่จริงๆ
กฎที่6 เหตุการณ์แต่ละเหตุการณ์ของบทเรียนอื่นๆ อาจต้องการการเลือกสื่อที่มีความแตกต่างกัน ตัวอย่างทฤษฎีที่อยู่บนหลักการของวิธีการทำหมันอาจจะต้องการวัสดุอุปกรณ์ที่เป็นสิ่งพิมพ์ในขณะที่มีวิธีการตัดไหมอาจจะต้องการสาธิตที่มีความเป็นจริงมากกว่า(วิดิทัศน์ ภาพยนตร์ ฯลฯ )
กฎที่2 สื่อทางเดียว(one-way medium) ควรจะได้รับการสนับสนุน โดยสื่อที่ให้ข้อมูลป้อนกลับ ตัวอย่างคือ ภาพยนตร์ หรือวีดีทัศน์ จะให้ประสิทธิผลมากกว่าเมื่อมีคู่มือการใช้ควบคู่ไปด้วยหรือมีแบบฝึกประติบัตรควบคู่ไปด้วย หรือมีครูซึ่งสามารถที่จะถามคำถามและตอบคำถามได้
กฎที่3 การเรียนรู้ของแต่ละบุคคล ต้องการสื่อที่มีความยืดหยุ่น ตัวอย่างคือผู้เรียนที่เช้า อาจจะต้องการสือเรียนที่แตกแขนงออกไปเป็นพิเศษ เช่นการฝึกเสริม(remedial exercises) ตัวอย่างเสริมเป็นพิเศษ สื่อภาพยนตร์ ควรจะส่งเสริมโดยการเยียวยาแก้ไขหรือมีกิจกรรมที่เหมาะสมกับความต้องการของแต่ละบุคคล โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสามารถที่จะสนองตอบได้อย่างดีเลิศในความยืดหยุ่นที่มีต่อปัจจัยบุคคล
กฎที่5 พฤติกรรมที่คาดหวังหลังจากการเรียนการสอน ควรจะให้มีการฝึกปฏิบัติในระหว่างที่มีการเรียนการสอน การได้ยินหรือการได้เห็นทักษะที่แสดงออกมาไม่เป็นการเพียงพอ ตัวอย่างผู้ปฏิบัติจำเป็นต้องการทำการตัดไหมตามที่เห็นในวิดิทัศน์ไม่ว่าจะเป็นการตัดไม้เทียมเทียมหรือตัดใหม่จริงๆ
กฎที่6 เหตุการณ์แต่ละเหตุการณ์ของบทเรียนอื่นๆ อาจต้องการการเลือกสื่อที่มีความแตกต่างกัน ตัวอย่างทฤษฎีที่อยู่บนหลักการของวิธีการทำหมันอาจจะต้องการวัสดุอุปกรณ์ที่เป็นสิ่งพิมพ์ในขณะที่มีวิธีการตัดไหมอาจจะต้องการสาธิตที่มีความเป็นจริงมากกว่า(วิดิทัศน์ ภาพยนตร์ ฯลฯ )
ปัจจัยอื่นๆที่มีผลต่อการเลือกสื่อ
ได้มีการเรียนรู้กฎซึ่งจำเป็นในการพิจารณาเมื่อมีการเลือกสื่อการเรียนการสอนเป็นความจำที่มองหาปัจจัยอื่นๆซึ่งจะส่งผลต่อการเลือกสื่อ
กฎที่4 การนำเสนอโลกแห่งความเป็นจริง
ต้องการสื่อทางทัศนะวัสดุ
ตัวอย่างนักเรียนพยาบาลเรียนรู้วิธีการตัดไหมจำเป็นต้องการเห็นการสาธิต (ภาพยนตร์
วิดิทัศน์ การสาธิตของจริง) มากกว่าที่จะเขียนออกมาเป็นรายการของวิธีการตัดไหม
การเลือกใช้สื่อการเรียนการสอน
สื่อการสอนคืออะไร
สื่อการสอน (Instruction Media) หมายถึง วัสดุ อุปกรณ์ หรือวิธีการใด ๆ ก็ตามที่เป็นตัวกลางหรือพาหะในการถ่ายทอดความรู้ ทัศนคติ ทักษะและประสบการณ์ไปสู่ผู้เรียน สื่อการสอนแต่ละชนิดจะมีคุณสมบัติพิเศษมีคุณค่าในตัวของมันเองในการเก็บ และแสดงความหมายที่เหมาะสมกับเนื้อหาทั้งยังมีเทคนิควิธีการใช้อย่างมีระบบ
คุณสมบัติของสื่อการสอน
สื่อการสอนมีคุณสมบัติพิเศษ 3 ประการ คือ
1. สามารถจัดยึดประสบการณ์กิจกรรมและการกระทำต่าง ๆ ไว้ได้อย่างคงทนถาวร ไม่ว่าจะเป็นเหตุการณ์ในอดีตหรือปัจจุบัน ทั้งในลักษณะของรูปภาพ เสียง และสัญลักษณ์ต่าง ๆ สามารถนำไปใช้ได้ตามความต้องการ
2. สามารถจัดแจงจัดการและปรุงแต่งประสบการณ์ต่าง ๆ ให้ใช้ได้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการเรียนการสอนเพราะสื่อการสอนบางชนิด สามารถใช้เทคนิคพิเศษเพื่อเอาชนะข้อจำกัดในด้านขนาด ระยะทาง เวลา และความเป็นนามธรรมของประสบการณ์ตามธรรมชาติได้
3. สามารถแจกจ่ายและขยายของข่าวสารออกเป็นหลาย ๆ ฉบับเพื่อเผยแพร่สู่คนจำนวนมาก และสามารถใช้ซ้ำ ๆ ได้หลาย ๆ ครั้ง ทำให้สามารถแก้ปัญหาในด้านการเรียนการสอนต่าง ๆ ทั้งการศึกษาในระบบโรงเรียนและนอกระบบโรงเรียนได้เป็นอย่างดี
คุณค่าของสื่อการสอน
คุณค่าของสื่อการสอน จำแนกได้ 3 ด้าน คือ
1. คุณค่าด้านวิชาการ
1.1 ทำให้ผู้เรียนเกิดประสบการณ์ตรง
1.2 ทำให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้ดีกว่าและมากกว่าไม่ใช้สื่อการสอน
1.3 ลักษณะที่เป็นรูปธรรมของสื่อการสอน ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจความหมายของสิ่งต่าง ๆ ได้กว้างขวางและเป็นแนวทางให้เข้าใจสิ่งนั้น ๆ ได้ดียิ่งขึ้น
1.4 ส่วนเสริมด้านความคิด และการแก้ปัญหา
1.5 ช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้ถูกต้อง และจำเรื่องราวได้มากและได้นาน
1.6 สื่อการสอนบางชนิด ช่วยเร่งทักษะในการเรียนรู้ เช่น ภาพยนตร์ ภาพนิ่ง เป็นต้น
2. คุณค่าด้านจิตวิทยาการเรียนรู้
2.1 ทำให้เกิดความสนใจ และต้องเรียนรู้ในสิ่งต่าง ๆ มากขึ้น
2.2 ทำให้เกิดความคิดรวบยอดเป็นเพียงอย่างเดียว
2.3 เร้าความสนใจ ทำให้เกิดความพึงพอใจ และยั่วยุให้กระทำกิจกรรมด้วยตนเอง
3. คุณค่าด้านเศรษฐกิจการศึกษา
3.1 ช่วยให้ผู้เรียนที่เรียนช้าเรียนได้เร็วและมากขึ้น
3.2 ประหยัดเวลาในการทำความเข้าใจเนื้อหาต่าง ๆ
3.3 ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้เหมือนกันครั้งละหลาย ๆ คน
3.4 ช่วยขจัดปัญหาเรื่องเวลา สถานที่ ขนาด และระยะทาง
ข้อดีและข้อเสียของสื่อบางประเภท
ในการเลือกสื่อที่มีความเหมาะสมที่สุดสำหรับภาระงานการเรียนรู้ที่มีความเฉพาะเจาะจงของผู้ออกแบบ
จำเป็นต้องรู้ถึงความเป็นไปได้ในข้อดีและข้อเสียที่เกี่ยวข้องกับสื่อแต่ละประเภท
การตัดสินใจเกี่ยวกับวิธีการ
การตัดสินใจเกี่ยวกับวิธีการและสื่อบางครั้งเกิดขึ้นพร้อมพร้อมกันในบางเวลาจะเลือกวิธีการก่อน และเลือกที่สือที่จำเป็นในการใช้ทีหลัง ดูแกน เลียด (Dugan laird : 180 ) เปรียบเทียบวิธีการว่าเป็นเหมือนทางหลวง(highway) ที่นำไปสู่จุดหมายปลายทาง(จุดประสงค์) และสื่อ(วัสดุฝึก) เป็นสิ่งที่เพิ่มเติม(accessories) บนทางหลวงเช่น สัญญาณแผนที่ซึ่งทำให้การเดินทางสะดวกขึ้น
วิธีการเป็นกลยุทธ์การเรียนการสอนที่มีระดับความชี้เฉพาะมากเป็น วิธีการเรียนการสอนที่ตัดสินธรรมชาติของบทเรียน จอยและวิล (Joyce and Weil,1980) เรียกสิ่งนี้ว่าเป็นแบบจำลองการสอน(model of teaching) แบบจำลองเป็นวิธีการสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ในระดับบทเรียนมากกว่าที่จะเป็นระดับหน่วยในหลักสูตร
การตัดสินใจเกี่ยวกับวิธีการ
การตัดสินใจเกี่ยวกับวิธีการและสื่อบางครั้งเกิดขึ้นพร้อมพร้อมกันในบางเวลาจะเลือกวิธีการก่อน และเลือกที่สือที่จำเป็นในการใช้ทีหลัง ดูแกน เลียด (Dugan laird : 180 ) เปรียบเทียบวิธีการว่าเป็นเหมือนทางหลวง(highway) ที่นำไปสู่จุดหมายปลายทาง(จุดประสงค์) และสื่อ(วัสดุฝึก) เป็นสิ่งที่เพิ่มเติม(accessories) บนทางหลวงเช่น สัญญาณแผนที่ซึ่งทำให้การเดินทางสะดวกขึ้น
วิธีการเป็นกลยุทธ์การเรียนการสอนที่มีระดับความชี้เฉพาะมากเป็น วิธีการเรียนการสอนที่ตัดสินธรรมชาติของบทเรียน จอยและวิล (Joyce and Weil,1980) เรียกสิ่งนี้ว่าเป็นแบบจำลองการสอน(model of teaching) แบบจำลองเป็นวิธีการสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ในระดับบทเรียนมากกว่าที่จะเป็นระดับหน่วยในหลักสูตร
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น